Friday, October 15, 2010

วิธีการจัดการกับ OU โดยใช้โปรแกรม Directory Service


                เราสามารถใช้ directory service tools DSaddDSaddDSrmในการจัดการ OU จาก คอมมานด์ไลน์โดยเราสามาระใช้ command เหล่านี้ใน สคริปต์ และ batch files

                การสร้าง OU โดยใช้ DSaddได้ดังนี้
                DsaddouOrganizationalUnitDN–descDescription–d Domain–u UserName–p Password
                คำอธิบาย
-           OrganizationalUnitDN เป็นการระบุถึง Distinguished name (เป็นการระบุถึงชื่อเต็มของ OU และจะบ่งบอกว่าอยู่ที่ไหนเช่น ou=helpdesk,dc=abc,dc=com
-           Description คำอธิบายระบุเกี่ยวกับ OU ที่ต้องการเพิ่ม
-           Domain specifies โดย ค่าเริ่มต้น จะเป็นโดเมนคอนโทรลเลอร์ในการ logon domain
-           UserNameระบุ username ที่เราจะใช้ในการรันโปรแกรมนี้ โดยปกติแล้วถ้าเราไม่ใส่จะหมายถึงผู้ใช้งานในระบบที่เรากำลังล็อกออนอยู่ ณ ขณะนี้
o   User name (เช่น Linda)
o   Domain\user name (เช่น widgets\Linda)
o   User principal name (UPN) (เช่น Linda@widgets.microsoft.com)
-           Password เป็นรหัสผ่านที่ผู้ใช้ในระบบใช้ในการล็อกออน ถ้าพิมพ์* ระบบจะมีหน้าต่างขึ้นมาให้ใส่รหัสผ่าน
การแก้ไข OU จะมีรูปแบบ ดังนี้
DsmodouOrganizationalUnitDN –desc Description –d Domain –u UserName –p Password พารามิเตอร์ของ DSmodจะเหมือนกับ DSadd

การลบ OU จะมีรูปแบบดังนี้
ถ้าเราไม่ใช้ OU เราสามารถที่จะลบออกได้ด้วยคำสั่งนี้ dsrmซึ่งจะมีพารามิเตอร์ตามนี้
DsrmOrganizationalUnitDN –d Domain –u UserName –p Password

พารามิเตอร์โดยส่วนใหญ่เหมือนกับของ DSadd
แต่เราสามารถที่จะใช้พารามิเตอร์ที่เพิ่มเติมเฉพาะ DSrmได้ด้วย มีพารามิเตอร์เพิ่มเติมดังต่อไปนี้
-           Subtreeระบุทั้ง ออบเจ็ก และ ตัวเก็บออบเจ็ก ที่อยู่ภายใต้subtreeจะถูกลบด้วย
-           Exclude สามารถใช้กับ subtree parameter เพื่อที่จะระบุว่าซับ OU ไหนที่เราไม่ต้องการลบ